วันศุกร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1.สำนักเทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช >>คลิ๊กที่นี่<<
2.SWOT องค์กรที่ศึกษาในข้อ 1. >>>คลิ๊กที่นี่<<<
3.ค้นคว้าทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่ พร้อมการนำหลักทฤษฎีไปใช้ >>>คลิ๊กที่นี่<<<
4. Instructional System Design (ISD) & Instructional Design (ID) >>> คลิ๊กที่นี่<<<
5. วินัย 5 ประการสำหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ >>> คลิ๊กที่นี่<<<
กิจกรรมและงานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมและงานที่มอบหมาย
1. ศึกษาองค์กรที่เกี่ยวข้องกับงาน ECT หรือ ICT in education >>> คลิ๊กที่นี่<<<
2. SWOT องค์กรที่ศึกษาในข้อ 1. >>>คลิ๊กที่นี่<<<
3. SWOT Analysis ฝ่ายเทคโนโลยีการศึกษา องค์กรของตนเอง >>>คลิ๊กที่นี่<<<
4. ค้นคว้าทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่ พร้อมการนำหลักทฤษฎีไปใช้ >>>คลิ๊กที่นี่<<<
5. เขียนโครงการที่เกี่ยวข้องกับ ECT >>>คลิ๊กที่นี่<<<
6. ค้นคว้าบทความเกี่ยวกับการบริหารระบบเทคโนโลยีการศึกษาภาษาอังกฤษ พร้อมแปลบทความ
>>>คลิ๊กที่นี่<<<
งานกลุ่ม
1.SWOT Analysis ฝ่ายเทคโนโลยีการศึกษา องค์กรของตนเอง >>>คลิ๊กที่นี่<<<
2.เขียนโครงการที่เกี่ยวข้องกับ ECT >>>คลิ๊กที่นี่<<<
3.ค้นคว้าบทความเกี่ยวกับการบริหารระบบเทคโนโลยีการศึกษาภาษาอังกฤษ พร้อมแปลบทความ
>>>คลิ๊กที่นี่<<<
บันทึกการเรียนรู้/ประมวลความรู้
สรุปการรายงานการศึกษาดูงานทุกกลุม >>> คลิ๊กที่นี่ <<<
บันทึกการเรียนรู้เรื่อง : ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดทางการบริหารจัดการจัดการระบบงาน ECT
หลัักการการจัดการระบบงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (ECT) มีดังนี้
1. หลักการจัดการโดยวัตถุประสงค์เป็นฐาน (Objective Base Management / Management by Objective : MBO) โดย Peter Drucker เน้นหลักการการกำหนดวัตุประสงค์ กระบวนการทำงานร่วมกัน ขององค์กร
2. หลักการจัดการโดยสมรรถนะเป็นฐาน/มุ่งเน้นผลงาน (Performance-Based Management) โดย Stanley and Sturt-Smith เน้นผลงาน/ผลสำเร็จของงานตามเป้าหมายขององค์กร
3. หลักการจัดการโดยการมีส่วนร่วมเป็นฐาน (Participatory-Based Manager) เน้นผู้ที่เกี่ยวข้องกับงาน ECT ได้มีส่วนในการวางระบบงานร่วมกัน
4. หลักการจัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นฐาน (Results-Based Management) เน้นผลสัมฤทธิ์ของการบริหารงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลของการปฏิบัติงานที่ชัดเจน
******************************
บันทึกการเรียนรู้เรื่อง : ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน ECT
1. ทฤษฏีการสื่อสาร : SMCR Model โดย เดวิด เค. เบอร์โล (David K.Berlo) ได้พัฒนาทฤษฎีที่ผู้ส่งจะส่งสารอย่างไร และผู้รับจะรับ แปลความหมาย และมีการโต้ตอบกับสารอย่างไร
2. ทฤษฏีระบบ : ทฤษฎีระบบ (System Theory) เป็นทฤษฎีที่ทำให้นักบริหาร สามารถที่จะมองเห็นภาพรวมขององค์การทั้งหมดตามหน้าที่ที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยพิจารณาองค์การในลักษณะระบบนั้นจะก่อให้เกิดการวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหาขององค์การทั้งระบบ
3. ทฤษฏีการเผยแพร่ : ทฤษฎีและการเผยแพร่ของศาสตร์ต่าง ๆ นำไปสู่การสร้างทฤษฎีการเผยแพร่ขึ้นและเป็นทฤษฎีที่ไม่บ่งชี้เฉพาะว่า ใช้สำหรับการเผยแพร่นวัตกรรรมของสาขาวิชาหรือศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่งโดยเฉพาะ เหตุผลที่ว่าทำไมทฤษฎีการเผยแพร่ถึงไม่มีความเฉพาะ เนื่องจากการเผยแพร่นวัตกรรมนั้นมีในทุกสาขาวิชาและทุกศาสตร์
การนำไปประยุกต์ใช้
การดำเนินงานใด ๆ ก็ตามเกิดขึ้นอย่างมีระบบ เราจะเห็นถึงความเกี่ยวโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นองค์รวม องค์กรแห่งหนึ่งที่บริหารงานด้าน ECT เริ่มต้นด้วยการวางแผนงานในด้านต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ การจัดทำแผนงาน, รูปแบบการดำเนินงาน, งบประมาณ , ทีมงาน, พันธมิตร ฯลฯ ในกรอบเวลาที่กำหนด เมื่อเข้าสู้การดำเนินงานปฏิบัติ จนงานเสร็จสิ้นกระบวนการ ต้องประเมินผลการจัดกิจกรรมดังกล่าวมีผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งในรูปตัวเงิน การสนับสนุนจากสปอนเซอร์ หรือพันธมิตร หรือองค์กรที่มีส่วนร่วม สื่อแขนงต่าง ๆ ที่เผยแพร่ข่าวสารกิจกรรม ฯลฯ ตลอดจน การประเมินผลจาก Feedback ในการปฏิบัติงานในลักษณะต่างๆ
SWOT Analysis คืออะไร
SWOT Analysis เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพองค์กร เพื่อค้นหา จุด แข็ง จุดอ่อน รวมถึงโอกาส และอุปสรรคในการดําเนินการขององค์กร หรือความสามารถในการแข่งขัน เพื่อ นําพาองค์กรไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตหรือเป้าหมายที่วางไว้
SWOT เป็นตัวย่อของ คํา 4 คํา ที่มีความหมายดังนี้
S ย่อมาจาก Strengths คือ ลักษณะเด่นขององค์กรที่เป็นปัจจัยเอื้อต่อความสําเร็จขององค์กร (จุดแข็ง)
W ย่อมาจาก Weaknesses คือ ลักษณะขององค์กรที่ไม่ดี เป็นอุปสรรคต่อความสําเร็จขององค์กร (จุดอ่อน)
O ย่อมาจาก Opportunities คือ ปัจจัยภายนอกที่เอื้อต่อความสําเร็จขององค์กร (โอกาส)
T ย่อมาจาก Threats คือ ปัจจัยภายนอกที่คุกคามหรือทําให้เกิดปัญหาต่อความสําเร็จขององค์กร (อุปสรรค)
ประโยชน์ของ SWOT Analysis
ผลจาก SWOT Analysis จะช่วยให้เข้าใจปัจจัยที่มีผลต่อการดําเนินการขององค์กร หลังจาก วิเคราะห์เพื่อประเมินปัจจัยภายในองค์กรเพื่อให้ทราบ จุดแข็ง และจุดอ่อน ประเมินปัจจัยภายนอกเพื่อให้ ทราบ โอกาส และอุปสรรค แล้ว จุดแข็งและโอกาส จะนํามาใช้เพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ในขณะที่ จุดอ่อนและอุปสรรค จะนํามาวางแผนเพื่อหาทางแก้ไขหรือป้องกันเพื่อไม่ให้มาขัดขวางการบรรลุเป้าหมายของ องค์กร โดยที่ข้อมูลทุกด้าน เหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการกําหนดวิสัยทัศน์ขององค์กร การกําหนด ยุทธศาสตร์และการวางแผนการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมต่อไป
******************************
บันทึกการเรียนรู้เรื่อง : หลักในการบริหารจัดการองค์กร POSDCoRB
กรณีศึกษา : การนำไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา
POSDCoRB คืออะไร
POSDCoRB
คือ
หลักในการบริหารจัดการองค์กรที่ใช้กันทั้งในภาครัฐ และ เอกชน ที่ผู้มีอำนาจบริหารมีหน้าที่ และ
บทบาทการบริหารอยู่ 7 ประการ คือ
P- Planning หมายถึง การวางแผน
ได้แก่ การจัดวางโครงการและแผนงานต่างๆ ขึ้นมาไว้ล่วงหน้า
O-Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
ได้แก่ การแบ่งงาน การกำหนดส่วนงาน โครงสร้างขององค์การ การกำหนดตำแหน่งงานต่างๆ
พร้อมกับอำนาจหน้าที่
S-Staffing หมายถึง
การจัดการเกี่ยวกับตัวบุคคลในองค์การ นับตั้งแต่ การจัดอัตรากำลัง การสรรหา
การคัดเลือก การบรรจุแต่งตั้งบุคคล การเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เงินเดือน
การโยกย้าย การพัฒนาบุคคลในองค์การเรื่อยไปจนกระทั่งการให้บุคคลพ้นจากตำแหน่ง
D-Directing หมายถึง การอำนวยงาน
ได้แก่การทำหน้าที่ในการตัดสินใจ วินิจฉัยสั่งการ การออกคำสั่ง
มอบหมายภารกิจการงานไปให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หลังจากนั้นต้องใช้ภาวะของการเป็นผู้นำในการกระตุ้นจูงใจคนให้ยอมรับในผู้บริหาร
Co- Coordinating หมายถึง การประสานงาน
ได้แก่ การทำหน้าที่ในการประสานกิจกรรมต่างๆ
ที่ได้มีการแบ่งแยกออกไปเป็นส่วนงานย่อยๆ
เพื่อให้ทุกภาคส่วนสามารถทำงานประสานสอดคล้องกัน และมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน
R- Reporting หมายถึง การรายงาน
ได้แก่การทำหน้าที่ในการรับฟังรายงานผลการฏิบัติงานของบุคคลและหน่วยงานที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชาได้รายงานมา
การรายงานถือเป็นมาตราการในการตรวจสอบและควบคุมงานด้วย
B- Budgeting หมายถึง การงบประมาณ
ได้แก่ หน้าที่ที่เกี่ยวกับการจัดทำงบประมาณ
การจัดทำบัญชีการใช้จ่ายเงินและการตรวจสอบควบคุมด้านการเงิน
การบัญชีของหน่วยงานนั่นเอง
POSDCoRB
ใช้เพื่อ
สร้างกลไก
และ โครงสร้างให้กับองค์กร
จัดเตรียมบุคลากรที่มีความชำนาญต่างกันให้อยู่ในแผนกที่เหมาะสมกับองค์กร
บุคลากรรู้หน้าที่ และ ผู้บริหารสามารถบริหาร และ สั่งการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
วางกรอบการทำงานให้องค์กรเพื่อเป็นแนวทางในการบริหาร
ส่งเสริมการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกันภายในองค์กร
4.
ข้อดีข้อเสียของ POSDCoRB
ข้อดี
· องค์กรมีโอการประสบผลสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
มีสายบังคับบัญชาเดียว
· สมาชิกองค์กรมีความเข้าใจวัตถุประสงค์องค์กร
และ แบ่งสายงานชัดเจน ไม่สับสน
· ในหน่วยงานเดียวกัน
มีความเข้มแข็ง เพราะเลือกสายอาชีพเดียวกันมาร่วมกันทำงาน
· ใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า
ถูกที่ถูกงาน
· การประสานงานระหว่างหน่วยงานมีความสะดวก
· จัดเตรียมงบประมาณสนับสนุนแต่ละส่วนได้อย่างเหมาะสม
ข้อเสีย
· เมื่อมีสายงานบังคับบัญชาที่ชัดเจน
บางหน่วยงานอาจเลี่ยงปฎิบัติงานจนกว่าผู้บริการจะสั่งการลงมาโดยตรง
· อุปกรณ์หรือเครื่องมือบางชนิดที่อยู่นอกเหนือหน่วยงานตนเอง
อาจต้องรอจนกว่าหน่วยงานที่รับผิดชอบมาเป็นเมื่อการดำเนินงานให้
· ทุกคนล้วนอยากอยู่ในหน่วยงานบริหารหลัก
ทำงานใกล้ชิดผู้บริหาร อาจเกิดความขัดแย้ง
การนำไปใช้ประโยชน์
1.
หลักสกาลาร์ หรือสายการบังคับบัญชา
2.
หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา
3.
หลักช่วงการบังคับบัญชา
4.
หลักการเน้นที่จุดสำคัญ
5.
หลักการจัดแบ่งแผนกงาน
6.
หลักการเกี่ยวกับหน่วยงานหลักและหน่วยอำนวยการ
7.
หลักการเกี่ยวกับศูนย์กำไร
กรณีศึกษา : การนำไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา
ในส่วนของการบริหารงานส่วนใหญ่มักจะเป็นหน้าที่ที่สำคัญของผู้บริหารของโรงเรียน
หลักในการบริหาร ลำดับแรกครูต้องมีการวางแผน (Planning)
เช่นในรายวิชานั้น ครูจะสอนเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง
มีการจัดให้ในห้องเรียนนั้น (Organizing) หาหัวหน้าห้องหรือตัวแทนของนักเรียนในแต่ละคาบ
(Staffing) เพื่อเป็นผู้ช่วยครู (Directing) ให้คอยควบคุมดูแลนักเรียนคนอื่นๆ
ช่วยเช็คชื่อ ประสานงาน (Coordinating) ระหว่างครูกับนักเรียน
ติดตามเรื่องงานและเรื่องกิจกรรมอื่นๆ ที่ครูอาจจะมีการสั่งไปให้ (Reporting) การที่ครูสามารถใช้นักเรียนเป็นผู้ช่วยจะทำให้ผูกมัดทางใจกับเพื่อนมากกว่า
ทำให้นักเรียนที่ทำงานอย่างตั้งใจประกอบการงานเต็มความสามารถและทำด้วยความกระตือรือร้น
*******************************************
*******************************************
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
ตำแหน่ง : ครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ อ.เมือง จ.นนทบุรี
สถานที่ทำงาน : โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ อ.เมือง จ.นนทบุรี
ติดต่อ : E-mail : bygone.b@gmail.com
Facebook : Wimonmate Seesuksai
ประวัติการศึกษา : กำลังศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
ปริญญาตรี : ค.บ. ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ศึกษาดูงานกลุ่ม
ศึกษาดูงานกลุ่ม
การประชุมคณะทำงาน >>>คลิ๊กที่นี่<<<
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา >>คลิ๊กที่นี่<<
Power Point การศึกษาดูงานกลุ่ม >>คลิ๊กที่นี่<<
ศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา
1. นายกิตติพงศ์ เลิศศิริกรณ์เดชา
2. นายดนุพล นิโอ๊ะ
3. นางสาวกัลยาณี พูลทรัพย์
4. นางสาววิมลเมธ สีสุกไสย
5. นายสหรัฐ พลอยศรีธรรมชาติ
1. นายกิตติพงศ์ เลิศศิริกรณ์เดชา
2. นายดนุพล นิโอ๊ะ
3. นางสาวกัลยาณี พูลทรัพย์
4. นางสาววิมลเมธ สีสุกไสย
5. นายสหรัฐ พลอยศรีธรรมชาติ
การประชุมคณะทำงาน >>>คลิ๊กที่นี่<<<
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา >>คลิ๊กที่นี่<<
Power Point การศึกษาดูงานกลุ่ม >>คลิ๊กที่นี่<<
หน้าแรก
01169551
วิชาการจัดการระบบงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (MECTS)
กำหนดการ กิจกรรมต่างๆ
แต่ละสัปดาห์ต้องบันทึกการเรียนรู้/ประมวลความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ของแต่ละคน
สัปดาห์ที่ 1 ศึกษาค้นคว้า ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดทางการบริหารจัดการจัดการระบบงาน ECT มอบหมายงานให้ไปศึกษาดูงานการบริหารจัดการองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT
สัปดาห์ที่ 2 ศึกษาองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT
สัปดาห์ที่ 3 ฝึกสร้าง Blog
สัปดาห์ที่ 4 ฝึก SWOT Analysis และสร้าง Mind Map
สัปดาห์ที่ 5 นำเสนอผลการ SWOT และบรรยาย การบริหารและการจัดการ ECT สัปดาห์ที่ 6 แจ้งชื่อองค์กรหรือหน่วยงานที่จะไปศึกษาดูงาน และประสานทำหนังสือออกจากภาควิชา กรณีที่ได้รับการตอบรับแล้ว
สัปดาห์ที่ 7 ฝึกเขียนโครงการ เช่น โครงการพัฒนา Smart Classroom และฝึกเขียน Gantt Chart
สัปดาห์ที่ 7-12 สร้างแบบสัมภาษณ์/แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง และต้องไปศึกษาดูงานมาเรียบร้อยแล้ว
สัปดาห์ที่ 9 สอบ Midterm
สัปดาห์ที่ 14 การศึกษาดูงานตามหลักการ POSCoRB จัดทำสื่อนำเสนอ และจัดทำรูปเล่มรายงาน
สัปดาห์ที่ 15 นำเสนอกรณีศึกษา ดูงาน และสอบ Final
หมายเหตุ: สามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมต่างๆ ได้ตามความเหมาะสม
สัปดาห์ที่ 1 ศึกษาค้นคว้า ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดทางการบริหารจัดการจัดการระบบงาน ECT มอบหมายงานให้ไปศึกษาดูงานการบริหารจัดการองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT
สัปดาห์ที่ 2 ศึกษาองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ECT
สัปดาห์ที่ 3 ฝึกสร้าง Blog
สัปดาห์ที่ 4 ฝึก SWOT Analysis และสร้าง Mind Map
สัปดาห์ที่ 5 นำเสนอผลการ SWOT และบรรยาย การบริหารและการจัดการ ECT สัปดาห์ที่ 6 แจ้งชื่อองค์กรหรือหน่วยงานที่จะไปศึกษาดูงาน และประสานทำหนังสือออกจากภาควิชา กรณีที่ได้รับการตอบรับแล้ว
สัปดาห์ที่ 7 ฝึกเขียนโครงการ เช่น โครงการพัฒนา Smart Classroom และฝึกเขียน Gantt Chart
สัปดาห์ที่ 7-12 สร้างแบบสัมภาษณ์/แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง และต้องไปศึกษาดูงานมาเรียบร้อยแล้ว
สัปดาห์ที่ 9 สอบ Midterm
สัปดาห์ที่ 14 การศึกษาดูงานตามหลักการ POSCoRB จัดทำสื่อนำเสนอ และจัดทำรูปเล่มรายงาน
สัปดาห์ที่ 15 นำเสนอกรณีศึกษา ดูงาน และสอบ Final
หมายเหตุ: สามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมต่างๆ ได้ตามความเหมาะสม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1.สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช >> คลิ๊กที่นี่ << 2.SWOT องค์กรที่ศึกษาในข้อ 1. >>> คลิ๊กที...
-
ศึกษาดูงานกลุ่ม ศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา 1. นายกิตติพงศ์ เลิศศิริกรณ์เดชา 2. นายดนุพล นิโอ๊ะ 3. นางสาวกัลยาณี พูลทรัพย์ 4...
-
สรุปการรายงานการศึกษาดูงานทุกกลุม >>> คลิ๊กที่นี่ <<< บันทึกการเรียนรู้เรื่อง : ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดทางการบริ...
-
1.สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช >> คลิ๊กที่นี่ << 2.SWOT องค์กรที่ศึกษาในข้อ 1. >>> คลิ๊กที...